๒. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในกองปะการังเทียม
2.1 แผนที่แสดงแหล่งปะการังธรรมชาติและปะการังเทียม
2.2 การศึกษาด้านประชาคมสัตว์น้ำบริเวณกองปะการังเทียม
การเปลี่ยนแปลงของสัตว์เกาะติดบริเวณพื้นผิวของปะการังเทียม พื้นผิวของปะการังเทียมมีลักษณะแข็ง จึงเหมาะสมต่อการยึดเกาะของสัตว์เกาะติด ซึ่งกรองกินอาหารที่เป็นตะกอนแขวนลอยหรือแพลงก์ตอนที่มากับมวลน้ำ
การเริ่มต้นของระบบนิเวศปะการังเทียม
ปะการังจาน Turbinariasp. |
1.ดาวขนนกสีเขียว Lamprometrapalmate |
ฟองน้ำหนามสีขาว Callyspongiasp. | ปะการังโขด Poritessp. |
ปลิงทะเลหนวดกิ่งไม้สีเขียว Colochirus quadrangularis |
ฟองน้ำ Haliclonasp. |
กัลปังหา Echinomuriceasp. |
1.ปะการังสมองร่องเล็ก Leptoria Phrygia 2.ปะการังโขดPoritessp. |
กัลปังหา Echinomuriceasp. |
1.ปะการังจาน Turbinariasp. 2.ปูหิน Charybdissp. |
กัลปังหา Subergorgiasp. | หอยมือหมี Hyotissa hyotis |
ปลิงลูกปัด Opheodesoma sp. | ปะการังจาน Turbinariasp. |